ตั้งเว็บเป็นหน้าแรก : หน้าแรก : กระดานข่าว : สมุดเยี่ยมชม : ดาวน์โหลด : ราคาสินค้าเกษตร : ตรวจสอบเงินเดือน : สหกรณ์ออมทรัพย์ กองการ จนท.: ค้นหา!!
??????????????????? ???????????????????????????????? ???????????? ?????????? ?????????????????? ?????????
 
นางอรสา  ไชยมนตรี
รักษาราชการในตำแหน่ง
เกษตรอำเภอเรณูนคร
 
หน้าแรก
ประวัติหน่วยงาน
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
ข้อมูลอำเภอเรณูนคร
ประวัติอำเภอเรณูนคร
ข้อมูลตำบลในเขต
ข้อมูลเพื่อการเกษตร
กลุ่มอาชีพ/สินค้า
กระดานข่าว
สมุดเยี่ยมชม
ดาวน์โหลด
ห้องสมุดความรู้การเกษตร
เกี่ยวกับเรา
ผู้ดูแลระบบ
รกร‹ร…รจยงร รƒร•ร‚ยนรƒร™รฉยกร…ร˜รจรรกรรจยบรฉร’ยนร ยกร‰ยตรƒยกรƒ รร“ร ร€รร รƒยณร™ยนยครƒ
รกยผยนยปยฎร”ยบร‘ยตร”ยงร’ยนร‹ยนรจร‡ร‚ยงร’ยน57
รกยผยนยกร’รƒรฃยชรฉยจรจร’ร‚ยงยบยปรƒรรร’ยณ57
รกยผยนยจร‘ยดยซร—รฉรยจร‘ยดยจรฉร’ยง57
รกยผยนยปยฎร”ยบร‘ยตร”ยกร’รƒ(Action plan)58

ยกร’รƒยบรƒร”ร‹ร’รƒยจร‘ยดยกร’รƒยงร’ยนรŠรจยงร รŠรƒร”รยกร’รƒร ยกร‰ยตรƒรร”ยตร”รฃร‹รรจ(MRCF)

รยงยครฌยคร‡ร’รรƒร™รฉยดรฉร’ยนยกร’รƒร ยกร‰ยตรƒ (KM)
ข้อมูลพื้นฐานอ.เรณูนคร
 
E-learning กรมฯ
การสอบ/สมัครงาน
บริการ SSNET
รายงาน ศ.02
สมัคร/สอบ บรรจุเข้าเป็น ข้าราชการกรมฯ
เว็บหน่วยงานในกรม
- เกษตรอินทรีย์คืออะไร 
- ทำไมต้องเกษตรอินทรีย์ 
- ผลเสียจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร 
- ทำไมห้ามใช้พันธ์พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการติดต่อทางพันธุกรรม
- ภาวะการทำเกษตรอินทรีย์ในต่างประเทศ 
- แหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ 
- เป็นเกษตรอินทรีย์ได้อย่างไรและปัญหาใน การทำเกษตรอินทรีย์ 
- สนใจปลูกพืชแบบอินทรีย์ จะทำอย่างไร 
- สารที่ไม่อนุญาตให้ใช้ปรับปรุงดิน และสารที่อนุญาตให้ใช้ปรับปรุงดิน
- แผนการจัดการศัตรูพืช 
- สารที่อนุญาตให้ใช้ควบคุมโรคพืช 
- การเก็บรักษาและการส่งผลิตผลและ สารที่อนุญาตให้ในการทำความสะอาด 
- ระบบมาตฐานและการตรวจสอบรับรอง 
--------------------------------------------------------------
 

แผนการจัดการศัตรูพืชก่อนปลูก

          1.กรณีใช้เมล็ดพันธุ์ปลูก
            - ควรใช้เมล็ดพันธุ์ต้านทานต่อโรค-แมลง และวัชพืชใช้เมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากศัตรูพืช(โรค-แมลง และวัชพืช)
            - แช่เมล็ดในน้ำอุ่น อุณหภูมิประมาณ 50-55 องศาเซลเซียส นาน 10-30 นาที (แล้วแต่ชนิดเมล็ดพันธุ์)เพื่อกำจัดเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย บางชนิดที่ติดกับมากับเมล็ด
            - คลุกเมล็ดด้วยจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ เช่น เชื้อไตรโคเดอร์ม่า เชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส สัปทิลิส
          2.การเตรียมแปลงเพาะกล้า อบดินแปลงเพาะกล้า อบดินแปลงเพาะด้วยไอน้ำหรือคลุกดินด้วย
เชื้อราปฏิปักษ์เพื่อควบคุมเชื้อราในระยะกล้า
          3.การเตรียมแปลงปลูก ไถตากดิน 1-2 สัปดาหฺ์ให้เมล็ดวัชพืชงอกแล้วไถกลบใช้พลาสติกที่ไม่ย่อยสลายคลุมแปลงกำจัดวัชพืชในดินที่ต้องการแสงแดด ใช้ปูนโดโลไมท์ หรือปูนขาวจากธรรมชาติ ปรับความเป็นกรด - ด่างของดิน เพื่อให้เชื้อโรคไม่เติบโต ขังน้ำให้ท่วมแปลง เพื่อควบคุมโรค-แมลงที่อยู่ในดิน ตากดินให้แห้งเพื่อกำจัดแมลงในดิน ใส่เชื้อราปฏิปักษ์ เช่น เชื้อไตรโดเดอร์ม่า ลงในดินป้องกันการระบาดของเชื้อราบางชนิด


ใช้พลาสติกคลุมแปลง


ระยะพืชเจริญเติบโต

          การควบคุมโรคพืช โรยเชื้อราปฏิปักษ์รอบโคนต้น เก็บเผาทำลายชิ้นส่วนของพืชที่เป็นโรค ใช้เชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัาส สัปทิลิส ทาแผลหรือพ่นที่ต้นพืช

ย้อนกลับ    กลับขึ้นข้างบน

Copyright © 2010 สำนักงานเกษตรอำเภอเรณูนคร กรมส่งเสริมการเกษตร
99 ม.9 ตำบลโพนทอง อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 48170 โทรศัพท์ 0-4257-9251

<----- สถิติการใช้งาน ----->